หลักสูตรที่จัดเสร็จแล้ว

[MTEC Free Onsite Workshop-for trainers] 2023 chemSHERPA Workshop for Trainers in Thailand (วันที่ 30 พฤศจิกายน 2566)

  สมัครออนไลน์ภายในวันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน 2566 (ไม่มีค่าใช้จ่าย) ได้ที่ลิงค์ https://forms.gle/AyvwV47omyJCYyiz7 หรือคลิกที่นี่  [โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์; PDF] รับจำนวนจำกัด ประกาศผลการพิจารณาคัดเลือกผู้มีสิทธิ์เข้ารับการอบรมวันศุกร์ที่ 24 พฤศจิกายน 2566 สอบถามข้อมูลเพิ่มได้ที่นางสาวอิชย์ชญาน์ สินเจริญเลิศ โทร. 02-564-6500 ต่อ 4469 หรืออีเมล์ itchaya.sin@mtec.or.th  

[MTEC Free Onsite Workshop-for users] 2023 chemSHERPA Workshop for Users in Thailand (วันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2566)

  สมัครออนไลน์ภายในวันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน 2566 (ไม่มีค่าใช้จ่าย) ได้ที่ลิงค์ https://forms.gle/QZ3NtTJn7KrWWwPz6 หรือคลิกที่นี่  [โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์; PDF] รับจำนวนจำกัด ประกาศผลการพิจารณาคัดเลือกผู้มีสิทธิ์เข้ารับการอบรมวันศุกร์ที่ 24 พฤศจิกายน 2566 สอบถามข้อมูลเพิ่มได้ที่นางสาวอิชย์ชญาน์ สินเจริญเลิศ โทร. 02-564-6500 ต่อ 4469 หรืออีเมล์ itchaya.sin@mtec.or.th

หลักสูตรอบรม การวิเคราะห์พอลิเมอร์และพอลิเมอร์คอมพอสิตด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ (วันที่ 15 ธันวาคม 2566)

หลักสูตรการวิเคราะห์พอลิเมอร์และพอลิเมอร์คอมพอสิตด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์(Polymer and Polymer Composite characterization by X-ray Diffraction (XRD) Technique) จัดโดยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม วันศุกร์ที่ 15 ธันวาคม 2566 เวลา 9.00-16.00 น.จัดอบรม hybrid คู่ขนาน 2 รูปแบบทั้งในรูปแบบอบรมในห้องอบรม (onsite) ไปพร้อมกับ อบรมในรูปแบบ onlineผู้สนใจสามารถเลือกรูปแบบการอบรมได้ตามที่ท่านสะดวก รายละเอียดดังนี้รูปแบบที่1 อบรม onsite ณ ห้องM120 อาคารเอ็มเทค อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานีรูปแบบที่2 อบรมออนไลน์ผ่านโปรแกรม Cisco WebEx Meeting วัตถุประสงค์       เนื้อหาหลักสูตรอธิบายภาพรวมการวิเคราะห์คุณลักษณะด้านโครงสร้างผลึกของพอลิเมอร์ และพอลิเมอร์คอมพอสิต รวมถึงสารตัวเติมหรือสารเติมแต่งที่เกี่ยวข้องด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ ในรูปแบบผง ฟิล์ม และเส้นใย เป็นต้น โดยจะบรรยายสรุปความรู้พื้นฐาน หลักการสำคัญ องค์ประกอบหลักของเครื่องมือ การเตรียมและการวัดตัวอย่าง […]

หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการ การแปรรูปยางด้วยการฉีดขึ้นรูปและการออกแบบแม่พิมพ์ (วันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2566)

หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการการแปรรูปยางด้วยการฉีดขึ้นรูปและการออกแบบแม่พิมพ์(Rubber Injection Molding and Mold Design) จัดโดยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค)สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) วันที่ 29 – 30 พฤศจิกายน 2566อาคารเอ็มเทค เวลา 9:00-16:00 น.อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ. ปทุมธานี หลักการและเหตุผล       ความเสียหายจากกระบวนการฉีดขึ้นรูปผลิตชิ้นส่วนยาง ไม่ว่าจะเป็นการเกิดโพรง ระยะเวลาในการบ่มที่ไม่เหมาะสม หรือแม่พิมพ์มีความร้อนที่ไม่สม่ำเสมอ เป็นต้น ก่อให้เกิดการสูญเสียทั้งระยะเวลาและเพิ่มต้นทุนในการผลิต ทั้งนี้ เพื่อลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากกระบวนการฉีดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ยาง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) จึงได้จัดการอบรมคอร์สนี้ขึ้น โดยมีเนื้อหาครอบคลุมทั้งสมบัติของยางสำหรับการฉีดขึ้นรูป กระบวนการฉีดขึ้นรูปยาง และการนำคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและวิศวกรรม (Computer Aided Design and Engineering, CAD/CAE) มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาออกแบบแม่พิมพ์และปรับปรุงกระบวนการฉีดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ยาง เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถลดต้นทุนในการผลิต และยกระดับขีดความสามารถในด้านการแปรรูปและออกแบบแม่พิมพ์ในกระบวนการฉีดให้แก่บุคลากรที่สนใจ วัตถุประสงค์       เพื่อเพิ่มศักยภาพ และยกระดับการสร้างนวัตกรรม และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง ในอุตสาหกรรมไทย กลุ่มเป้าหมาย    […]

การสัมมนาเรื่อง Green Hydrogen เพื่ออุตสาหกรรมสีเขียวและ BCG Model (วันที่ 24 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13.00-16.00 น.)

การสัมมนาGreen Hydrogen เพื่ออุตสาหกรรมสีเขียวและ BCG Model จัดโดยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติร่วมกับโครงการพัฒนาสร้างเครื่องจักรต้นแบบด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่ากองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม วันศุกร์ที่ 24 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13.00-16.00 น.ณ ห้อง MR222 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ ภายในงาน Metalex2023           เทคโนโลยีการผลิตกระแสไฟฟ้าพลังงานไฮโดรเจน ได้รับการรู้ถึงในวงกว้าง และการเตรียมความพร้อมในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมของไทยในการมีส่วนร่วมสำหรับการผลิตแก๊สไฮโดรเจนเพื่อรองรับความต้องการในอนาคต เป็นสิ่งที่กำลังได้รับความสนใจอย่างมาก และเมื่อต้องสอดรับกับนโยบายด้าน BCG Economy (Bio-Circular-Green Economy) หรือ โมเดลเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ที่มุ่งเน้นการสร้างผลผลิตจากกอุตสาหกรรมด้วยสำนึกรับผิดชอบต่อการสร้างมลภาวะ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นโอกาสในการมีส่วนร่วมผลักดันให้เกิดผลงานที่สร้างคุณค่าได้ในเชิงการให้ความสำคัญกับการเลือกวัตถุทางชีวภาพ การสามารถหมุนเวียนผลผลิตทั้งทางตรงและทางอ้อมจากกระบวนการได้ทั้งหมด และการมุ่งสู่หัวใจหลักของกระบวนการเพื่อเศรษฐกิจสีเขียวนั้น เทคโนโลยีไฮโดรเจนสีเขียว หรือ green hydrogen ซึ่งในทางทฤษฎีเป็นกระบวนการที่ปราศจากคาร์บอนนี้จะมีบทบาทโดยตรงต่อแนวทางการดำเนินกิจกรรมการผลิตซึ่งสามารถมุ่งสู่ผลลัพธ์ บนพื้นฐานของ BCG model ได้อย่างเหมาะสม       […]

1 2 3 4 41