ผลิต ‘เนื้อเทียม’ อย่างไร..ให้เหมือนเนื้อแท้?
ผู้บริโภคในปัจจุบันใส่ใจสุขภาพและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น แนวโน้มหนึ่งคือ การบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อเทียมจากโปรตีนพืช
ผู้บริโภคในปัจจุบันใส่ใจสุขภาพและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น แนวโน้มหนึ่งคือ การบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อเทียมจากโปรตีนพืช
อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัย 4 ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต จากสภาพการณ์ต่างๆ ในปัจจุบันไม่ว่าจะเรื่องเศรษฐกิจชะลอตัว จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น สังคมผู้สูงอายุ โรคระบาด
เทคนิคเอกซเรย์คอมพิวโทโมกราฟี (X-ray Computed Tomography: XCT) เป็นเครื่องมือวิเคราะห์โครงสร้างของวัสดุที่นักวิจัยและนักอุตสาหกรรมนิยมใช้เพื่อตรวจสอบโครงสร้างภายในของชิ้นส่วนตัวอย่าง
สืบเนื่องจากการบรรยายเรื่องความซับซ้อนและความสามารถในการรีไซเคิลของพลาสติก (Complexity & Recyclability Aspect) โดย ดร.อศิรา เฟื่องฟูชาติ นักวิจัยอาวุโสและผู้อำนวยการหน่วยวิจัยเทคโนโลยีโพลิเมอร์ขั้นสูง ในการฝึกอบรมหลักสูตรเข้มข้น (Intensive Course Report) ในหัวข้อ “การออกแบบผลิตภัณฑ์พลาสติกตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Designing Plastic Products in Circular Economy)” ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 1–2, 9–10, 16 และ 23 มิถุนายน 2564 ผู้เขียนจึงขอดึงประเด็นสำคัญมาเล่าในรูปแบบของการถาม-ตอบ
พลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของทุกคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ มีการคาดการณ์ว่าปี พ.ศ.2583 จะมีการผลิตพลาสติกทั่วโลกถึง 1.1 ล้านตันต่อปี วงจรสุดท้ายของผลิตภัณฑ์พลาสติกมักจบลงด้วยการฝังกลบหรือถูกทิ้งลงในมหาสมุทร ซึ่งเป็นการคุกคามระบบนิเวศวิทยาและแหล่งอาหารของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งพลาสติกที่ได้รับความนิยมอย่างโพลิเอทิลีนซึ่งเหนียวและทนทาน
สิ่งทออัจฉริยะ (smart textiles) เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการนำเทคโนโลยีหลายสาขามาพัฒนาให้สิ่งทอมีสมบัติพิเศษซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้สวมใส่ อย่างเช่น ผลงานของทีมวิจัยนานาชาติจากประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเกาหลีใต้ ที่นำสิ่งทอนำไฟฟ้าและมีสมบัติต้านแบคทีเรียไปประยุกต์ใช้เพื่อตรวจติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้
ซิลิโคนโพลิเมอร์จัดเป็นหนึ่งในกลุ่มสารประกอบโพลิเมอร์ที่ได้รับความนิยมกว้างขวาง ไม่ว่าจะใช้เคลือบผิวในรูปของสี (paints) ผสมเป็นหมึก (inks) ทำเป็นสารชุบแข็ง (hardeners) ขึ้นรูปเป็นเนื้อฟิล์ม (films) หรือแผ่นโพลิเมอร์ (sheets)
สัมภาษณ์ ดร.วิชชุดา เดาด์ เอ็มเทคกับบทบาทด้านการจัดการขยะพลาสติกอย่างยั่งยืนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน จำนวนประชากรโลกที่เพิ่มสูงขึ้นทำให้มีการใช้ทรัพยากรมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ขยะและมลพิษทางสิ่งแวดล้อมก็เพิ่มขึ้นตามไปด้วย หากมนุษย์ยังคงดำเนินวิถีชีวิตด้วยเศรษฐกิจแบบเส้นตรง (linear economy) คือนำทรัพยากรมาผลิต บริโภค และทิ้ง โลกก็จะมีขยะเพิ่มขึ้นอย่างไม่สิ้นสุด เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว … Read more
ถุงมือยางเป็นผลิตภัณฑ์ขั้นปลายน้ำของอุตสาหกรรมยางโดยผลิตจากน้ำยางข้น อุตสาหกรรมถุงมือยางของไทยมีสัดส่วนการใช้ยางธรรมชาติร้อยละ 10.88 ดังนั้นเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ยางสำเร็จรูปอื่นๆ อุตสาหกรรมถุงมือยางจึงนับว่ามีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งในแง่การสร้างมูลค่าเพิ่ม
น้ำยางพาราข้นชนิดแอมโมเนียต่ำมาก (ULA) สำหรับทำผลิตภัณฑ์ Para AC ในอุตสาหกรรมก่อสร้างถนน
การผลิตแอสฟัลต์ซีเมนต์ (Para AC) โดยใช้น้ำยางพาราข้นเป็นวัตถุดิบที่อุณหภูมิ 140-160 องศาเซลเซียส มักเกิดปัญหาการไอระเหยของแอมโมเนียซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม…